เรื่องเล่าอัญมณีและเครื่องประดับ

ผึ้งสื่อความหมายได้อย่างมากมาย เช่น ชีวิต ครอบครัว ความขยัน ความสามัคคี ความอดทน สติปัญญา ความสุข และความรัก เป็นต้น ทำให้นักออกแบบเครื่องประดับหยิบยกเอาลวดลายและแนวคิดต่างๆ เกี่ยวกับผึ้งมาใส่ไว้ในงานออกแบบเครื่องประดับ และเมื่อนำมาเชื่อมโยงเข้ากับความเชื่อในเชิงปรัชญาของแต่ละพื้นถิ่น ก็ยิ่งเป็นการเพิ่มคุณค่าให้กับเครื่องประดับเหล่านี้ ความเชื่อเกี่ยวกับผึ้งเป็นอย่างไร ติดตามอ่านได้ในบทความ

Sølje เครื่องประดับประจำชาติแบบดั้งเดิมของชาวนอร์เวย์ ทำจากโลหะเงิน นิยมติดไว้ที่บริเวณคอเสื้อจึงถูกทำเป็นเข็มกลัด หรือจี้ โดยเอกลักษณ์อันโดดเด่นของเครื่องประดับรูปแบบนี้คือการนำแผ่นเงินรูปไข่หรือวงกลมขนาดเล็กที่ถูกทำให้โค้งเว้าเหมือนปลายช้อนประดับตกแต่งให้ห้อยตุ้งติ้งดูน่ารักและสั่นไหวได้ยามเคลื่อนไหว สำหรับโครงสร้างหลักมักมีการออกแบบเป็นรูปทรงต่างๆ ที่หลากหลายและแฝงด้วยความหมาย

แม้ว่าเมดูซ่าจะเป็นปีศาจร้ายในตำนานกรีก แต่นางเปรียบดั่งเทพีในวงการแฟชั่นเมื่อ Versace แบรนด์เสื้อผ้าชั้นนำซึ่งมีต้นกำเนิดในเมืองมิลาน หนึ่งในศูนย์กลางเมืองแฟชั่นของโลก ได้นำเอาภาพศีรษะของนางปีศาจตนนี้มาใช้เป็นโลโก้ของแบรนด์ อะไรกันที่ทำให้ Gianni Versace ผู้ก่อตั้งแบรนด์ Versace ตัดสินใจแบบนี้? หาคำตอบได้จากบทความนี้

ขนนก มีความเกี่ยวข้องกับขนบธรรมเนียม วัฒนธรรม และความเชื่อของผู้คนในทั่วทุกมุมโลกมาตั้งแต่อดีต รวมไปถึงในกวงการการศึกษาอีกด้วย ขนนกมีความสำคัญอย่างไร และในอดีตมีความเชื่ออะไรบ้าง สามารถติดตามได้ในบทความนี้

‘แอปเปิ้ล’ (Apple) ผลไม้ลูกกลมๆ ซึ่งเป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมไปทั่วโลก และยังเป็นสัญลักษณ์ที่หลายๆวงการอย่าง วงการภาพยนต์ หนังสือ หรือภาพเขียนนำมาใช้อย่างหลากหลาย เจ้าผลไม้ลูกกลมนี้มีความหมายอย่างไรบ้าง สามารถอ่านได้ในบทความนี้

‘เกือกม้า’โลหะที่ถูกตีและขึ้นรูปเป็นตัวยูซึ่งใช้ตอกติดเข้ากับกีบเท้าของม้าเพื่อป้องกันการบาดเจ็บ สิ่งนี้ไม่เพียงแต่มีประโยชน์กับสัตว์ที่สง่างามและทรงพลังเท่านั้น หากมันยังเกี่ยวพันกับวิถีชีวิตและความเชื่อของผู้คนมายาวนาน โดยเฉพาะในสังคมตะวันตกซึ่งมีตำนานเล่าขานที่น่าสนใจ เรื่องราวจะเป็นอย่างไร สามารถติดตามได้ในบทความนี้

เราใช้คุกกี้ (Cookies) เพื่อใช้ในการปรับปรุงประสิทธิภาพเว็บไซต์ ท่านสามารถศึกษารายละเอียดการใช้คุกกี้ได้ที่ นโยบายคุกกี้   ตั้งค่า ยอมรับ

×
140 อาคารไอทีเอฟ ทาวเวอร์ ชั้น 4 ถนนสีลม แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทรศัพท์: 0 2634 4999 ต่อ 444
โทรสาร: 0 2634 4970