บทความวิชาการอัญมณี

AEC 2015...เป็นโอกาสและความท้าทายต่อการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไทย

แม้ว่าอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไทยจะได้ประโยชน์จาก AEC แต่การเปิดตลาดทำให้คู่แข่งมีมากขึ้น ตามจำนวนผู้บริโภคที่มากขึ้น จึงไม่อาจหลีกเลี่ยงการแข่งขัน การเตรียมความพร้อมให้ธุรกิจจึงมีความสำคัญมาก

รุกตลาดเครื่องประดับบราซิล ขยายการค้าไปยังละตินอเมริกา

บราซิลตลาดขนาดใหญ่ที่มีอัตราเติบโตสวนกระแสเศรษฐกิจโลก ประชากรมีชนชั้นกลางขยายตัวมากขึ้น สินค้าอัญมณีและเครื่องประดับเป็นที่ต้องการซื้อหา โดยเฉพาะเมืองสำคัญอย่างบราซิลเลีย เซาเปาโล และริโอเดอจาเนโร

ยกระดับเครื่องประดับแฟชั่นคว้าโอกาสท่ามกลางวิกฤติ

ท่ามกลางสถานการณ์ปัญหาทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น การปรับตัวยกเครื่องในธุรกิจเครื่องประดับเป็นสิ่งจำเป็น การยกระดับมาตรฐานฝีมือและคุณภาพสินค้าให้ลูกค้าคงความเชื่อมั่นในคุณภาพ ขณะที่เครื่องประดับเทียมเป็นอีกสินค้าที่น่าสนใจในการทำตลาด

สัญญาณเศรษฐกิจถดถอย...สหรัฐฯ ชะลอการนำเข้าอัญมณีและเครื่องประดับ

เศรษฐกิจของสหรัฐฯ ที่ไม่ฟื้นฟูส่งผลต่อความเชื่อมั่นในการบริโภค ประชาชนอดออมมากขึ้น กระทบต่อการค้าอัญมณีและเครื่องประดับของไทยทำให้มีมูลค่าการส่งออกไปยังสหรัฐฯ ลดลง การหาตลาดเพิ่มหรือเครื่องประดับทดแทนจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง

เทคโนโลยีการตรวจสอบโลหะมีค่าด้วยเครื่องมือวิทยาศาสตร์ระดับสูง

เทคโนโลยีการใช้เครื่องมือตรวจสอบโลหะมีค่าถือเป็นการช่วยสร้างความมั่นใจให้ผู้บริโภคเชื่อมั่นว่าสินค้านั้นมีคุณภาพที่ดี ป้องกันการถูกหลอกจากสินค้าที่ไม่ได้มาตรฐาน

ขยายโอกาสการผลิตและการค้าอัญมณีและเครื่องประดับไทยในตลาดอาเซียน

การพึ่งพาตลาดสหรัฐอเมริกาและยุโรปในการส่งออกอัญมณีและเครื่องประดับในช่วงเวลาที่เศรษฐกิจของทั้งสองตลาดยังไม่สดใสนัก การหาตลาดใหม่ที่มีศักยภาพเช่นตลาดอาเซียนจึงถือเป็นทางเลือกในการลดความเสี่ยง

เวียดนาม...ตลาดค้าปลีกอัญมณีและเครื่องประดับที่ไม่ควรมองข้าม

เวียดนามเป็นประเทสที่มีการเติบโตทางเศรษฐกิจที่โดดเด่น ประชากรกว่าร้อยละ 70 เป็นวัยทำงาน ทำให้มีความต้องการบริโภคสูง โดยลักษณะเครื่องประดับที่นิยมมีทั้งทองคำขาวประดับเพชร และเครื่องประดับทอง

เจาะตลาดอัญมณีและเครื่องประดับ UAE

UAE เปรียบเสมือนประตูสู่โลกอาหรับที่เป็นทั้งศูนย์กลางการค้า การลงทุน ทั้งยังเป็นเมืองท่าปลอดภาษี โดยสินค้าที่นิยมของตลาดมีทั้งเครื่องประดับทองและเพชร ที่มีอัตราการเติบโตอย่างต่อเนื่อง

เพิ่มยอดขายกระจายฐานลูกค้ากับเครื่องประดับสเตนเลสสตีล

เครื่องประดับสเตนเลสสตีลถือเป็นเครื่องประดับทางเลือกอีกทางหนึ่ง ในช่วงที่ราคาวัตถุดิบอย่างทองคำปรับตัวสูงขึ้น จึงถือเป็นช่วงเวลาท้าทายในการนำวัสดุทดแทนมาผลิตเครื่องประดับให้เป็นอีกทางเลือกที่น่าสนใจ

เครื่องประดับพลอยสีโดดเด่นในตลาดไต้หวัน

แม้ว่าไตหวันจะมีขนาดตลาดที่ไม่ใหญ่นัก แต่ด้วยกำลังซื้อของผู้บริโภคที่สูงและนิยมวื้อสินค้าฟุ่มเฟือย ทำให้การทำตลาดเครื่องประดับระดับบนเป็นทางเลือกที่น่าสนใจ โดยเครื่องประดับทองและเครื่องประดับอัญมณีที่มีสไตล์ตามแฟชั่นเป็นที่นิยมมาก

เราใช้คุกกี้ (Cookies) เพื่อใช้ในการปรับปรุงประสิทธิภาพเว็บไซต์ ท่านสามารถศึกษารายละเอียดการใช้คุกกี้ได้ที่ นโยบายคุกกี้   ตั้งค่า ยอมรับ

×
140 อาคารไอทีเอฟ ทาวเวอร์ ชั้น 4 ถนนสีลม แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทรศัพท์: 0 2634 4999 ต่อ 444
โทรสาร: 0 2634 4970