เกาะติดสถานการณ์ตลาดอัญมณี

ละตินอเมริกา: น่านน้ำที่รอการสำรวจ

ปัจจุบันความต้องการซื้อสินค้าอัญมณีและเครื่องประดับในกลุ่มประเทศละตินอเมริกามีมูลค่ากว่า 8 พันล้านเหรียญสหรัฐต่อปี และภายในปี 2563 คาดว่าชนชั้นกลางของละตินอเมริกาจะกลายเป็นผู้บริโภครายใหญ่ในภูมิภาคนี้

ศรีลังกา...ศูนย์กลางแห่งอัญมณี

อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับที่มีมายาวนานของศรีลังกาเป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญที่ช่วยดึงดูดเงินตราต่างประเทศ ปัจจุบันศรีลังกามีตำแหน่งอันมั่นคงในตลาดต่างประเทศและเป็นที่รู้จักจากอัญมณีที่มีคุณภาพและการสร้างสรรค์เครื่องประดับอัญมณีในรูปแบบเฉพาะตัวที่ละเอียดประณีตและมีความหลากหลาย

ผู้ค้าเครื่องประดับสหรัฐหวังพึ่งแบรนด์เพชรกระตุ้นยอดขาย

สหรัฐอเมริกายังคงเป็นตลาดผู้บริโภคเพชรสำคัญอันดับต้นๆ ของโลก โดยสร้างยอดขายในสัดส่วนร้อยละ 40 ของมูลค่าการค้าเพชรทั่วโลก อย่างไรก็ดี ตลาดสหรัฐยังเติบโตช้ากว่าตลาดการค้าเพชรในประเทศอื่นๆ โดยคาดว่าความต้องการเพชรในสหรัฐจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.4 ในช่วงปี 2555 ถึง 2557 ต่ำกว่าอัตราขยายตัวของตลาดโลกซึ่งคาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 3.7 มีเพียงตลาดญี่ปุ่นและยุโรปที่น่าจะเติบโตช้ากว่าสหรัฐ

ผู้เชี่ยวชาญคาดเพชรก้อนขาดแคลนภายในช่วงสิบปีข้างหน้า

ประเด็นเรื่องอุปสงค์เพชรก้อนมีมากกว่าอุปทานได้รับการกล่าวถึงในแวดวงอุตสาหกรรมอีกครั้งและคาดกันว่าวิกฤตินี้จะเกิดขึ้นในช่วงทศวรรษที่จะมาถึง จากภาวะเศรษฐกิจถดถอยในสหรัฐอเมริกาและยุโรป ตลอดจนการชะลอตัวทางเศรษฐกิจของญี่ปุ่นในช่วงหลายปีที่ผ่านมา มีผลชะลอภาวะขาดแคลนเพชรก้อนให้เกิดขึ้นช้าลงจากเดิมที่คาดกันว่าจะมาถึงในช่วงต้นทศวรรษ 2010

สร้างแบรนด์ให้ร้านเครื่องประดับ

การนำเสนอคุณค่าของเครื่องประดับเป็นกุญแจสำคัญสู่การสร้างแบรนด์ที่ประสบความสำเร็จ และเป็นเป้าหมายที่กิจการเครื่องประดับสามารถบรรลุได้ แม้ว่าจะใช้เวลาค่อนข้างมากก็ตาม

คนยุคมิลเลนเนียลสร้างความท้าทายใหม่ให้นักการตลาด

กว่าครึ่งศตวรรษที่ผ่านมา บริษัทเพชร De Beers ทำแต้มใหญ่ทางการตลาดจากการโน้มน้าวให้หันมาใช้เพชรเป็นเครื่องหมายของการหมั้น คำโฆษณา เพชรคงคุณค่าชั่วนิรันดร์ ทำผลงานได้ดีสำหรับคนรุ่นเบบี้บูมเมอร์ แต่คำกล่าวนี้กลับมีทีท่าว่าจะใช้ไม่ได้ผลเท่าเดิมกับคนรุ่นมิลเลนเนียล

เราใช้คุกกี้ (Cookies) เพื่อใช้ในการปรับปรุงประสิทธิภาพเว็บไซต์ ท่านสามารถศึกษารายละเอียดการใช้คุกกี้ได้ที่ นโยบายคุกกี้   ตั้งค่า ยอมรับ

×
140 อาคารไอทีเอฟ ทาวเวอร์ ชั้น 4 ถนนสีลม แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทรศัพท์: 0 2634 4999 ต่อ 444
โทรสาร: 0 2634 4970