บทความวิชาการอัญมณี

บราซิล: ตลาดใหม่สินค้าอัญมณีและเครื่องประดับไทยที่น่าจับตามอง (ตอนแรก)

บราซิล ถือเป็นกลุ่มประเทศในตลาดใหม่ที่เริ่มถูกพูดถึงมากขึ้น จากการเป็นแหล่งวัตถุดิบพลอยสีที่สำคัญแห่งหนึ่งของโลก ทั้งยังมีความหลากหลายค่อนข้างมากของพลอยสีที่ค้นพบ ขณะที่การทำเหมืองพลอยในประเทศเป็นเหมืองขนาดเล็ก ไม่มีการใช้เทคโนโลยีขั้นสูง ทำให้ปริมาณผลิตยังไม่มากนัก

เทรนด์การออกแบบเครื่องประดับ ปี 2012

แนวโน้มเทรนด์การออกแบบเครื่องประดับในปี 2012 ที่กำลังจะมาถึง ภายใต้แนวคิด Megatrends 2012 แบ่งออกเป็น 4 ธีม คือ Less-Essential เน้นองค์ประกอบที่เรียบง่าย คำนึงถึงประโยชน์ใช้สอย Memoire การออกแบบที่หวนให้ย้อนไปในภาพความทรงจำในอดีต Dreams Scaping สร้างสรรค์งานจากฝันและจินตนาการ

อิทธิพลของกระแสเทรนด์เครื่องประดับ

เทรนด์เครื่องประดับสร้างอิทธิพลต่อคนทั่วโลก ซึ่งเทรนด์หลักๆ ที่เกิดขึ้นสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบคอลเลคชั่นใหม่ๆ เพื่อใช้ดึงดูดผู้บริโภคที่นิยมตามกระแสแฟชั่นได้อย่างดี การติดตามข่าวสารเทรนด์ใหม่ๆ จึงเป็นสิ่งที่จำเป็นเสมอ

การค้าที่เป็นธรรมกับการเตรียมพร้อมของอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไทย

การค้าที่เป็นธรรมหรือ Fair Trade เริ่มเป็นที่พูดถึงมากขึ้นในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา รวมทั้งในอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับด้วย โดยเฉพาะตลาดยุโรปและสหรัฐอเมริกาที่ให้ความสำคัญกับเรื่องนี้เป็นอย่างมาก ผู้ประกอบการจึงต้องเตรียมตัวและสร้างความพร้อมกับแนวทางการค้าที่คำนึงถึงสังคมและสิ่งแวดล้อมมากขึ้น

ทองสีม่วง: นวัตกรรมใหม่ของวงการเครื่องประดับทอง

ทองคำที่เรานึกถึงมักมีสีเหลืองทองวาว เป็นโลหะมีค่าที่ถูกนำมาใช้ประโยชน์ด้านทันตกรรม อุตสาหกรรม รวมทั้งเครื่องประดับที่เรานิยมกัน แต่ทว่าเมื่อไม่นานมานี้ ทองสีม่วง เป็นอีกหนึ่งนวัตกรรมที่สร้างความแปลกใหม่ให้ผู้บริโภคสนใจในความแปลกที่ไม่เหมือนใครนี้

เกณฑ์การใช้แคดเมียมในเครื่องประดับสำหรับเด็ก

ความต้องการบริโภคเครื่องประดับมีการขยายไปยังตลาดที่หลากหลายมากขึ้น รวมทั้งเครื่องประดับสำหรับเด็กที่มีความต้องการเพิ่มมากขึ้น แต่การใส่ใจในวัตถุดิบส่วนประกอบเป็นสิ่งที่ต้องคำนึงถึง โดยเฉพาะสารแคดเมียมที่ใช้ในเครื่องประดับเพื่อให้เกิดความเงาวาว แต่ก็เป็นโทษต่อผู้สวมใส่ได้โดยเฉพาะเด็กที่มีความไวต่อสิ่งที่มาสัมผัส

การจัดแสดงสินค้า...สุดยอดเทคนิคการขายแบบไร้เสียง

การจัดแสดงสินค้านอกจากเพื่อช่วยโปรโมทสินค้าให้เป็นที่รู้จักแล้ว ยังสามารถกระตุ้นยอดขายให้เพิ่มขึ้นได้ด้วย แต่นอิกเหนือจากการใช้เทคนิคการขายหรือพรีเซนเตอร์แล้ว การขายโดยไร้เสียงหรือการจัดชั้นวางให้มีความโดเด่นน่าสนใจยังเป็นอีกกลยุทธ์ที่ดึงดูดลูกค้าให้สนใจได้อีกด้วย

GIT เสริมความแกร่งสู่วิสาหกิจชุมชนอัญมณีและเครื่องประดับไทยสร้างความพร้อมบุกตลาดต่างแดน

ธุรกิจอัญมณีและเครื่องประดับในไทยนั้น มักอยู่ในรูปของวิสาหกิจชุมชนที่มีขนาดเล็กและกระจายไปทั่วทุกภูมิภาค มีสัดส่วนสูงกว่าร้อยละ 80 ของจำนวนผู้ประกอบ สถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติได้เล็งเห็นความสำคัญและมีแนวคิดในการยกระดับวิสาหกิจชุมชนนี้ให้แข็งแกร่งมากยิ่งขึ้นเพื่อมีความพร้อมในการแข่งขันในตลาดการค้าเสรีได้

เวียดนาม: ตลาดเครื่องประดับที่น่าจับตามองในกลุ่มประเทศอาเซียน (ตอนจบ)

การเติบโตทางเศรษฐกิจของเวียดนามอย่างก้าวกระโดดทำให้เป็นที่น่าจับตามองเป็นพิเศษ รวมทั้งความมีศักยภาพที่อาจเป็นตลาดสำคัญของอัญมณีและเครื่องประดับในอนาคตได้ โดยเฉพาะเมืองใหญ่อย่างโฮจิมินห์และฮานอย การเจาะตลาดอาจใช้การเข้าร่วมการจัดแสดงสินค้าหรือผ่านตัวแทนจำหน่ายที่ได้รับอนุญาต

ผลกระทบต่อการส่งออกอัญมณีและเครื่องประดับไทยจากภาวะภัยพิบัติในญี่ปุ่น

ญี่ปุ่นนับเป็นตลาดการค้าอัญมณีและเครื่องประดับที่สำคัญของไทยแห่งหนึ่ง แต่จากเหตุภัยพิบัติครั้งใหญ่ที่ผ่านมาซึ่งเกิดแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิ ทำให้โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในจังหวัดฟุกุชิมาเกิดการรั่วไหล ก่อให้เกิดความเสียหายเป็นวงกว้างต่อเศรษฐกิจของญี่ปุ่น ส่งผลให้การบริโภคสินค้าฟุ่มเฟือยมีแนวโน้มลดลง ทำให้ผู้ส่งออกจำเป็นต้องมองหาตลาดอื่นเพิ่มเติมมากขึ้น

เวียดนาม: ตลาดเครื่องประดับที่น่าจับตามองในกลุ่มประเทศอาเซียน (ตอนที่ 1)

เวียดนามนับเป็นประเทศเพื่อนบ้านที่มีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจที่โดดเด่นมาก ด้วยนโยบายภาครัฐที่สนับสนุนการปฏิรูปเศรษฐกิจมีการเปิดรับนักลงทุนจากต่างชาติมากขึ้น ส่งผลให้กลุ่มชนชั้นกลางเติบโตมากขึ้นโดยเฉพาะในเมืองหลักๆ ขยายตัวอย่างรวดเร็ว ซึ่งคนกลุ่มนี้ชื่นชอบในสินค้าแบรนด์หรูจากต่างประเทศ

GIT สนับสนุนการเข้าถึงแหล่งวัตถุดิบอัญมณีผ่านความร่วมมือไทย-เคนยา

เคนยา ประเทศในทวีปแอฟริกาที่มีแหล่งวัตถุดิบอัญมณีที่อุดมสมบูรณ์ที่สุดแห่งหนึ่งในทวีป ด้วยความหลากหลายของวัตถุดิบทั้งพลอยคอแรนดัมและพลอยเนื่้ออ่อนชนิดอื่นๆ แต่การพัฒนาในอุตสาหกรรมยังมีไม่มากเท่าที่ควร สถาบันวิจัยและพัฒนาอัญมณีและเครื่องประดับมีโอกาสในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีและขยายความร่วมมือซึ่งสิ่งเหล่านี้จะเป็นโอกาสต่อไปได้

เราใช้คุกกี้ (Cookies) เพื่อใช้ในการปรับปรุงประสิทธิภาพเว็บไซต์ ท่านสามารถศึกษารายละเอียดการใช้คุกกี้ได้ที่ นโยบายคุกกี้   ตั้งค่า ยอมรับ

×
140 อาคารไอทีเอฟ ทาวเวอร์ ชั้น 4 ถนนสีลม แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500
โทรศัพท์: 0 2634 4999 ต่อ 444
โทรสาร: 0 2634 4970